e LEARNING LOG f
วิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์ ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2550
อาจารย์ประจำวิชา อาจารย์ชยการ คีรีรัตน์ อาจารย์นิสิต กันตพงศ์ ปิ่นปัทมเรขา
อาจารย์นิสิต มารีน่า จงเลิศเจษฎาวงศ์
บันทึกประจำวันที่ 12/11/50
ชื่อ-นามสกุล กิตติธัช รัตนชัยกานนท์
ชั้น ม.3/5 เลขที่ 5
สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการเรียนการสอนในวันนี้ รู้จักการใส่ตัวอักษร เข้าไปที่ Title เเล้วก็เลือก เเบบตามต้องการ คลิก2ทีเพื่อเขียนข้อความที่ต้องการ
ใส่พื้นหลัง เข้าไปที่ Edit เปลื่ยนเป็น Color เเล้วก็เลือกสีตามต้องการ
ใส่ Effect เลือก Effect เเล้วก็ Drag Effect ที่ต้องการลงไปใน Timeline
ประโยชน์ที่จะนำไปใช้ในการทำงานกลุ่ม สามารถนำไปตัดต่อ VDO ให้มีความน่าสนใจยิ่งขึ้น
สิ่งที่จะไปค้นคว้าเพิ่มเติม -
ข้อคิดเห็นเพิ่มเติม -
วันอาทิตย์ที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550
วันอาทิตย์ที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550
Ulead VideoStudio11
e LEARNING LOG f
วิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์ ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2550
อาจารย์ประจำวิชา อาจารย์ชยการ คีรีรัตน์ อาจารย์นิสิต กันตพงศ์ ปิ่นปัทมเรขา
อาจารย์นิสิตมารีน่า จงเลิศเจษฎาวงศ์
บันทึกประจำวันที่ …5…../…..11…/….50.….
ชื่อ-นามสกุล…กิตติธัช รัตนชัยกานนท์…………………………………………………………………..
ชั้น……ม.3/5………………………………………………เลขที่………5…………….
สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการเรียนการสอนในวันนี้…วิธีการใช้ Ulead video studio11 เกี่ยวกับตัดต่อภาพนึ่ง………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….......
ประโยชน์ที่จะนำไปใช้ในการทำงานกลุ่ม…ทำให้ภาพนิ่งมีความน่าสนใจยิ่งขึ้น………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สิ่งที่จะไปค้นคว้าเพิ่มเติม…วิธีการทำ Title………………………………………………………………………...
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
ข้อคิดเห็นเพิ่มเติม…ไม่มี………………………………………………………………………………...
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
________________________________________________
วิชา ง30206 การตัดต่อภาพยนตร์ ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2550
อาจารย์ประจำวิชา อาจารย์ชยการ คีรีรัตน์ อาจารย์นิสิต กันตพงศ์ ปิ่นปัทมเรขา
อาจารย์นิสิตมารีน่า จงเลิศเจษฎาวงศ์
บันทึกประจำวันที่ …5…../…..11…/….50.….
ชื่อ-นามสกุล…กิตติธัช รัตนชัยกานนท์…………………………………………………………………..
ชั้น……ม.3/5………………………………………………เลขที่………5…………….
สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการเรียนการสอนในวันนี้…วิธีการใช้ Ulead video studio11 เกี่ยวกับตัดต่อภาพนึ่ง………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….......
ประโยชน์ที่จะนำไปใช้ในการทำงานกลุ่ม…ทำให้ภาพนิ่งมีความน่าสนใจยิ่งขึ้น………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สิ่งที่จะไปค้นคว้าเพิ่มเติม…วิธีการทำ Title………………………………………………………………………...
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
ข้อคิดเห็นเพิ่มเติม…ไม่มี………………………………………………………………………………...
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………….......
________________________________________________
วันศุกร์ที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2550
ประเมินเพื่อนในกลุ่ม
รายชื่อ
การประเมินเพื่อนในกลุ่ม
คะแนน[100]
1.คุณัชญ์
เป็นคนที่ทำงานเยอะที่สุด มีส่วนร่วมเยอะ
100 คะเเนน
2.จักรพัชร์
มีความกล้าดี
95 คะเเนน
3.ธนพล
มีส่วนร่วมน้อย แต่ทำงานดี
90 คะเเนน
วันอาทิตย์ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2550
วิธีการตัดต่อ
การตัดต่อด้วย Windows Movie Maker
มีอยู่ 2วิธี
1.การตัด เราสามารถตัดภาพยนต์เป็น 2 ส่วน ได้ด้วยเมนู Clip -> Split หรือ Ctrl - L
2.การตัดต่อที่ 2 จะเป็นการตัดส่วนท้ายออกได้ด้วยเมนู Clip -> Set End Trim Point หรือ Ctrl - Shift-O
มีอยู่ 2วิธี
1.การตัด เราสามารถตัดภาพยนต์เป็น 2 ส่วน ได้ด้วยเมนู Clip -> Split หรือ Ctrl - L
2.การตัดต่อที่ 2 จะเป็นการตัดส่วนท้ายออกได้ด้วยเมนู Clip -> Set End Trim Point หรือ Ctrl - Shift-O
วันอาทิตย์ที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2550
มนุษย์ลำปางมหัศจรรย์ทางประวัติศาสตร์
มหัศจรรย์ทางประวัติศาสตร์ มนุษย์ลำปาง-โฮโมอีเร็คตัส 500,000 ปี
โดยเฉพาะฟอสซิลโฮโมอิเร็คตัสอายุประมาณ 5 แสนปีเป็นครั้งแรกของโลกที่พบฟอสซิล มนุษย์โบราณ โดยคนพื้นเมืองเจ้าของประเทศและเป็นการเปิดเผยโฉมหน้าใหม่ของประวัติศาสตร์ เกี่ยวกับวิวัฒนาการ การเกิดขึ้นเป็นมนุษย์ในแผ่นดินไทยและในทวีปเอเชีย
โฮโม อิเร็คตัส ที่ค้นพบได้จากจังหวัดลำปาง น่าจะได้รับการขนานนามว่า “ มนุษย์สยาม “ (Siam Man) “ หรือ “ มนุษย์เกาะคา ” (KO-KHA Man) ตามแหล่งที่ค้นพบ
ที่ตั้งของแหล่งที่ทำการสำรวจและขุดค้นอยู่ที่บริเวณเขาป่าหนามใกล้บ้านหาดปู่ด้าย ตำบลนาแส่ง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง ลักษณะ ที่ตั้งเป็นซอกหลืบหินปูน หรือโพลงถ้ำที่บริเวณเพดานพังลงมาทีหลังในภูมิประเทศแบบคาสต์ (relative open rockshelter, kast cave in filling) ใกล้แม่น้ำวัง แหล่งซากดึกดำบรรพ์เขาป่าหนามนี้ มีสภาพพิเศษที่เอื้ออำนวยให้ซากดึกดำบรรพ์ถูกเก็บรักษาไว้ให้อยู่ในสภาพที่ดีพอสมควร โดยสารฟอสเฟตซึ่งเกิดจากมูลค้างคาวสลายตัวและห่อหุ้มซากกระดูกทั้งหลายเอาไว้ภายในหลืบ – ซอกของพื้นถ้ำ ทั้งนี้ เนื่องจากสารฟอสเฟต เป็นสารที่ไม่ละลายน้ำผิวดินหรือใต้ดิน
โฮโม อิเร็คตัส (Homo erectus) เป็นสายพันธ์มนุษย์ (Huminoid) มีวิวัฒนาการเมื่อประมาณ 1ล้านถึง 5 แสนปีมาแล้วของสมัยไพลสโตซีน (Pleistocene Epoch) มีลักษณกะโหลกค่อนข้างหนาเทอะทะและมีหน้าผากลาด มีสันเหนือกระบอกตา (Supra-Orbital Ridge) เป็นสันนูนหนา แต่ขนาดความหนาย้อยกว่ามนุษย์นีแอนเดอธัลเล็กน้อยมีความจุขนาดสมองปริมาตร 800 – 1,200 ซีซี
credit by
http://www.lp-ju.ago.go.th/travel/homoerectus.htm
ตะกวด(แลน)
สัตวเลื้อนคลาน
Clouded Monitor(Bengal Monitor)
ชื่อทางวิทยาศาสตร์: Varanus bengalensis
ลักษณะทั่วไป พื้นตัวเป็นสีเทาเหลืองหรือน้ำตาลเทา เกล็ดเป็นสีเหลืองหรือเป็นจุด ๆ เมื่อมองผ่าน ๆ จึงดูตัวเป็นสีเหลือง ถิ่นอาศัย, อาหาร พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งอินเดียและพม่า ตะกวดกินไก่ นก ปลา กบ เขียด หนู กินได้ทั้งของสดและของเน่า พฤติกรรม, การสืบพันธุ์ ไม่ดุเท่าเหี้ย ชอบอาศัยอยู่ตามต้นไม้ แต่ว่ายน้ำและดำน้ำไม่เก่งเท่าเหี้ย ปกติชอบอยู่ใกล้น้ำเช่นเดียวกัน แต่บางทีอาจพบได้ตามป่าโปร่งและเนินเขาไกลจากลำน้ำ ตะกวดจะโตเต็มที่เมื่อมีอายุ 3 ปี วางไข่ครั้งละ 20 ฟองในฤดูฝน ฟักออกเป็นตัวง่าย ออกไข่ในหลุมดิน เช่นเดียวกับเหี้ย สถานภาพปัจจุบัน เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 สถานที่ชม สวนสัตว์ดุสิต
credit http://www.zoothailand.org/animals/reptiles_th.asp?id=18
เเร้ง
ชื่อเรียกอื่นๆ King Vulture
ลักษณะรูปร่าง พญาแร้ง เป็น นกขนาดใหญ่ ขนาดประมาณ 81 - 85 ซม. หางสั้น ปลายหางค่อนข้าง เป็นรูปพลั่ว ตัวเต็มวัยสีตามลำตัวออกเป็นสีดำ อก และ สีข้างมีแถบสีขาว บริเวณหัว คอ และ ขา สีแดง ปีกสีดำ บริเวณโคน ขน ปลายปีกทั้งด้านบน และ ด้านล่างมีลายพาดสีเทา ตัวไม่เต็มวัย ของ พญาแร้ง แตกต่างจากตัวไม่เต็มวัย ของอีแร้ง อื่นๆ ตรงที่มีสีขาว บริเวณท้องตอนล่าง และ ขนคลุมโคนหาง ในขณะที่ตัวที่ไม่เต็มวัย ของ แร้งอื่นๆ มักจะเป็นสีน้ำตาลเข้ม หัว ปกคลุมไปด้วยขนอุยสีขาว
นิสัยประจำพันธุ์ พญาแร้ง พบตามทุ่งนา พื้นที่เกษตรกรรม ทุ่งโล่ง และป่าต่างๆ มักจะพบ อยู่เป็น ฝูงเล็กๆ ราว 2 - 5 ตัว เราอาจจะพบมันกำลังร่อนเป็นวงกลมอยู่กลางอากาศ หรือ จับเกาะตามกิ่งแห้งของต้นไม้ หรือ ลงเกาะตามพื้นดิน
อาหารของพญาแร้ง ได้แก่ ซากสัตว์ต่างๆ ซึ่งสัตว์ผู้ล่าอื่นๆ ทิ้งเอาไว้ หรือซากสัตว์ที่มนุษย์นำไปทิ้ง หรือแม้แต่ซากศพมนุษย์ซึ่งถูกทิ้งไว้ อย่างเช่นคนพื้นเมืองบางท้องที่ ของ ประเทศอินเดีย นิยมทิ้งศพไว้ให้แร้งกิน
พญาแร้ง มีพฤติกรรมการหาอาหาร ด้วยการจ้องมองหาอาหาร ขณะที่ร่อนอยู่กลางอากาศ เมื่อเห็นอาหาร มันจะบินลงมากิน โดยใช้จะงอยปาก ฉีกซากสัตว์ และ ปกติ จะกินเครื่องในก่อน จากนั้นจึงจะกินเนื้อทีหลัง หากมี สัตว์อื่น ที่แข็งแรงกว่า เช่น เสือ กินซากสัตว์อยู่แล้ว พญาแร้งจะคอยจนกระทั่งเสืออิ่ม และ ผละจากไป จึงจะเข้าไปกิน อาหารต่อ และ จะไล่นกชนิดอื่น รวมทั้งสัตว์อื่นๆ ที่มาแย่งอาหารนั้นด้วย
ฤดูผสมพันธุ์ทำรังวางไข่ พญาแร้ง ผสมพันธุ์ในช่วงฤดูหนาว ต่อ ฤดูร้อน หรือ ระหว่างเดือนธันวาคม ถึง เดือน เมษายน ทำรังตามต้นไม้โดยเฉพาะต้นตาล และ ต้นยางนา เป็นรังขนาดใหญ่ที่สร้างขึ้นอย่างหยาบๆ โดยใช้กิ่งไม้ต่างๆ วางซ้อนทับตามคอต้นตาล หรือ ตามง่ามของกิ่งไม้ ตัวผู้ และ ตัวเมีย จะช่วยกันเลือกสถานที่สร้างรัง หาวัสดุ และ ร่วมกันสร้างรัง ไข่ มีสีขาว ขนาดโดยเฉลี่ย 66.0 X 83.9 มม. ตัวเมียวางไข่คราวละ ฟองเดียว ระยะเวลา ฟักไข่ ประมาณ 45 วัน ลูกที่ฟักออกจากไข่ใหม่ๆ มีขนอุยสีขาวปกคลุม ลำตัว แต่ยังช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ โดยเฉพาะการ หาอาหาร มาป้อน และ ดูแลจนกระทั่งลูกแข็งแรง และ บินได้ จากนั้นจึงจะทิ้งรังไป
การแพร่กระจายพันธุ์ อินเดีย เนปาล ตะวันตกเฉียงเหนือของบังคลาเทศ , ตะวันตกเฉียงใต้ของจีน (โดยเฉพาะ ตะวันตก และ ทิศใต้ ของมณฑลยูนนาน ) , มีรายงานการพบบ้างในปากีสถาน , สำหรับเอเซียตะวันออก เฉียงใต้ เป็นนกประจำถิ่นที่หายากมาก ทางภาคตะวันตก ของประเทศไทย , ภาคใต้ของลาว , ตะวันออกเฉียงเหนือ ของกัมพูชา , ตอนเหนือ และ ตอนใต้ ของแคว้นอันนัม ในเวียตนาม , เคยมีรายงานการพบในภาคกลาง ภาคตะวันตก เฉียงเหนือ และภาคใต้ ของประเทศไทย , ภาคเหนือของ คาบสมุทร มาลายา , ภาคเหนือ ภาคกลาง ของลาว , ประเทศ ในแถบอินโดจีน , เคยมีรายงาน แต่ปัจจุบันไม่ทราบสถานภาพที่แน่นอน ในพม่า ภาคกลางของแคว้นอันนัม และ เคยมีรายงานไม่ได้รับการยืนยัน ในสิงคโปร์ - ข้อมูลจาก " A Field Guide to the Birds of Thailand and South - east Asia " By Craig Robson
ลักษณะรูปร่าง พญาแร้ง เป็น นกขนาดใหญ่ ขนาดประมาณ 81 - 85 ซม. หางสั้น ปลายหางค่อนข้าง เป็นรูปพลั่ว ตัวเต็มวัยสีตามลำตัวออกเป็นสีดำ อก และ สีข้างมีแถบสีขาว บริเวณหัว คอ และ ขา สีแดง ปีกสีดำ บริเวณโคน ขน ปลายปีกทั้งด้านบน และ ด้านล่างมีลายพาดสีเทา ตัวไม่เต็มวัย ของ พญาแร้ง แตกต่างจากตัวไม่เต็มวัย ของอีแร้ง อื่นๆ ตรงที่มีสีขาว บริเวณท้องตอนล่าง และ ขนคลุมโคนหาง ในขณะที่ตัวที่ไม่เต็มวัย ของ แร้งอื่นๆ มักจะเป็นสีน้ำตาลเข้ม หัว ปกคลุมไปด้วยขนอุยสีขาว
นิสัยประจำพันธุ์ พญาแร้ง พบตามทุ่งนา พื้นที่เกษตรกรรม ทุ่งโล่ง และป่าต่างๆ มักจะพบ อยู่เป็น ฝูงเล็กๆ ราว 2 - 5 ตัว เราอาจจะพบมันกำลังร่อนเป็นวงกลมอยู่กลางอากาศ หรือ จับเกาะตามกิ่งแห้งของต้นไม้ หรือ ลงเกาะตามพื้นดิน
อาหารของพญาแร้ง ได้แก่ ซากสัตว์ต่างๆ ซึ่งสัตว์ผู้ล่าอื่นๆ ทิ้งเอาไว้ หรือซากสัตว์ที่มนุษย์นำไปทิ้ง หรือแม้แต่ซากศพมนุษย์ซึ่งถูกทิ้งไว้ อย่างเช่นคนพื้นเมืองบางท้องที่ ของ ประเทศอินเดีย นิยมทิ้งศพไว้ให้แร้งกิน
พญาแร้ง มีพฤติกรรมการหาอาหาร ด้วยการจ้องมองหาอาหาร ขณะที่ร่อนอยู่กลางอากาศ เมื่อเห็นอาหาร มันจะบินลงมากิน โดยใช้จะงอยปาก ฉีกซากสัตว์ และ ปกติ จะกินเครื่องในก่อน จากนั้นจึงจะกินเนื้อทีหลัง หากมี สัตว์อื่น ที่แข็งแรงกว่า เช่น เสือ กินซากสัตว์อยู่แล้ว พญาแร้งจะคอยจนกระทั่งเสืออิ่ม และ ผละจากไป จึงจะเข้าไปกิน อาหารต่อ และ จะไล่นกชนิดอื่น รวมทั้งสัตว์อื่นๆ ที่มาแย่งอาหารนั้นด้วย
ฤดูผสมพันธุ์ทำรังวางไข่ พญาแร้ง ผสมพันธุ์ในช่วงฤดูหนาว ต่อ ฤดูร้อน หรือ ระหว่างเดือนธันวาคม ถึง เดือน เมษายน ทำรังตามต้นไม้โดยเฉพาะต้นตาล และ ต้นยางนา เป็นรังขนาดใหญ่ที่สร้างขึ้นอย่างหยาบๆ โดยใช้กิ่งไม้ต่างๆ วางซ้อนทับตามคอต้นตาล หรือ ตามง่ามของกิ่งไม้ ตัวผู้ และ ตัวเมีย จะช่วยกันเลือกสถานที่สร้างรัง หาวัสดุ และ ร่วมกันสร้างรัง ไข่ มีสีขาว ขนาดโดยเฉลี่ย 66.0 X 83.9 มม. ตัวเมียวางไข่คราวละ ฟองเดียว ระยะเวลา ฟักไข่ ประมาณ 45 วัน ลูกที่ฟักออกจากไข่ใหม่ๆ มีขนอุยสีขาวปกคลุม ลำตัว แต่ยังช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ โดยเฉพาะการ หาอาหาร มาป้อน และ ดูแลจนกระทั่งลูกแข็งแรง และ บินได้ จากนั้นจึงจะทิ้งรังไป
การแพร่กระจายพันธุ์ อินเดีย เนปาล ตะวันตกเฉียงเหนือของบังคลาเทศ , ตะวันตกเฉียงใต้ของจีน (โดยเฉพาะ ตะวันตก และ ทิศใต้ ของมณฑลยูนนาน ) , มีรายงานการพบบ้างในปากีสถาน , สำหรับเอเซียตะวันออก เฉียงใต้ เป็นนกประจำถิ่นที่หายากมาก ทางภาคตะวันตก ของประเทศไทย , ภาคใต้ของลาว , ตะวันออกเฉียงเหนือ ของกัมพูชา , ตอนเหนือ และ ตอนใต้ ของแคว้นอันนัม ในเวียตนาม , เคยมีรายงานการพบในภาคกลาง ภาคตะวันตก เฉียงเหนือ และภาคใต้ ของประเทศไทย , ภาคเหนือของ คาบสมุทร มาลายา , ภาคเหนือ ภาคกลาง ของลาว , ประเทศ ในแถบอินโดจีน , เคยมีรายงาน แต่ปัจจุบันไม่ทราบสถานภาพที่แน่นอน ในพม่า ภาคกลางของแคว้นอันนัม และ เคยมีรายงานไม่ได้รับการยืนยัน ในสิงคโปร์ - ข้อมูลจาก " A Field Guide to the Birds of Thailand and South - east Asia " By Craig Robson
Credit by
วันอาทิตย์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2550
วันอาทิตย์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2550
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)